วันอังคารที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เด็กกับนิทาน

   สร้างสมองลูกน้อยด้วยนิทาน


นิทานคือ โลกของภาษา ภาพและตัวหนังสือที่ปรากฏบนหนังสือนิทาน คือโลกของภาษา

การอ่านหนังสือให้ลูกฟังจึงมีความสำคัญมาก ต่อการพัฒนาของเด็ก เปรียบเหมือนอาหารมื้อหนึ่งของวัน เพราะเป็นอาหารสมองและอาหารใจของลูก
พ่อแม่ทุกคนอยากให้เด็กรักการอ่านหนังสือ และเรียนเก่ง

การทำให้เด็กรักการอ่านหนังสือไม่ยากเพราะเด็ก มีความอยากรู้อยากเห็น ชอบสนุกสนาน ถ้าได้หนังสือที่ชอบและยากอ่าน

ถ้าอยากจะให้ลูกฉลาด คุณแม่คุณพ่อควรจะเล่า นิทานให้ลูกฟังเป็นประจำ


       หนังสือนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย  ควรเป็นหนังสือภาพสำหรับเด็ก ซึ่งหมายถึงหนังสือที่พ่อแม่อ่านให้เด็กฟัง การเล่านิทานให้ลูกฟังด้วยเสียงของพ่อแม่ ซึ่งเป็นผู้เล่า


       การใช้ภาษาที่ดี เวลาเล่า ความรู้สึกของผู้เล่าจะผ่านไปสู่ตัวลูกด้วย ถ้าผู้เล่านิทานรู้สึกตื่นเต้น ลูกก็จะรู้สึกตื่นเต้นไปด้วย ความรู้สึกร่วมกันระหว่างพ่อแม่และเด็กระหว่างการเล่านิทาน


       จึงเปรียบเสมือนสายใยผูกพันระหว่างพ่อแม่ลูก การเล่านิทานแม้เพียง 5 - 10 นาทีต่อเล่ม ส่งผลที่มีต่อพัฒนการของลูกและความสุขในครอบครัวนั้นมหาศาล

       ลูกจะได้รับการพัฒนาทักษะการฟังและการพูด สร้างจินตนาการแก่เด็ก ฝึกสมาธิให้เด็กรู้จักสำรวจให้จดจ่ออยู่กับเรื่องที่ฟัง ซึ่งเป็นพื้นฐานการเตรียมความพร้อม ด้านการอ่านหนังสือ และปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็กไปพร้อมกัน

       วิธีการเล่านิทานหรือเรื่องราวสำหรับเด็ก


       1 เลือกนิทานหรือเรื่องราวที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก
       2 การเล่านิทานที่นิยมมี 2 วิธี ดังนี้
       การเล่าเรื่องปากเปล่า ไม่มีอุปกรณ์ : เป็นการเล่านิทานด้วยการบอกเล่าด้วยน้ำเสียงและลีลาของผู้เล่า
      การเล่าเรื่องโดยมีอุปกรณ์ช่วย เช่น กล่องกระดาษ กิ่งไม้ภาพ ภาพพลิก หุ่นจำลอง หน้ากาก  นิ้วมือ

ถ้าอยากจะให้ลูกฉลาด คุณแม่คุณพ่อควรจะเล่า นิทานให้ลูกฟังเป็นประจำ


นิทานคือ โลกของภาษา ภาพและตัวหนังสือที่ปรากฏบนหนังสือนิทาน คือโลกของภาษา
การอ่านหนังสือให้ลูกฟังจึงมีความสำคัญมาก ต่อการพัฒนาของเด็ก เปรียบเหมือนอาหารมื้อหนึ่งของวัน เพราะเป็นอาหารสมองและอาหารใจของลูก
พ่อแม่ทุกคนอยากให้เด็กรักการอ่านหนังสือ และเรียนเก่ง

การทำให้เด็กรักการอ่านหนังสือไม่ยากเพราะเด็ก มีความอยากรู้อยากเห็น ชอบสนุกสนาน ถ้าได้หนังสือที่ชอบและยากอ่าน
หนังสือนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย  ควรเป็นหนังสือภาพสำหรับเด็ก ซึ่งหมายถึงหนังสือที่พ่อแม่อ่านให้เด็กฟัง การเล่านิทานให้ลูกฟังด้วยเสียงของพ่อแม่ ซึ่งเป็นผู้เล่า


การใช้ภาษาที่ดี เวลาเล่า ความรู้สึกของผู้เล่าจะผ่านไปสู่ตัวลูกด้วย ถ้าผู้เล่านิทานรู้สึกตื่นเต้น ลูกก็จะรู้สึกตื่นเต้นไปด้วย ความรู้สึกร่วมกันระหว่างพ่อแม่และเด็กระหว่างการเล่านิทาน


จึงเปรียบเสมือนสายใยผูกพันระหว่างพ่อแม่ลูก การเล่านิทานแม้เพียง 5 - 10 นาทีต่อเล่ม ส่งผลที่มีต่อพัฒนการของลูกและความสุขในครอบครัวนั้นมหาศาล


ลูกจะได้รับการพัฒนาทักษะการฟังและการพูด สร้างจินตนาการแก่เด็ก ฝึกสมาธิให้เด็กรู้จักสำรวจให้จดจ่ออยู่กับเรื่องที่ฟัง ซึ่งเป็นพื้นฐานการเตรียมความพร้อม ด้านการอ่านหนังสือ และปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็กไปพร้อมกัน

วิธีการเล่านิทานหรือเรื่องราวสำหรับเด็ก


1 เลือกนิทานหรือเรื่องราวที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก

2 การเล่านิทานที่นิยมมี 2 วิธี ดังนี้
การเล่าเรื่องปากเปล่า ไม่มีอุปกรณ์ : เป็นการเล่านิทานด้วยการบอกเล่าด้วยน้ำเสียงและลีลาของผู้เล่า
การเล่าเรื่องโดยมีอุปกรณ์ช่วย เช่น กล่องกระดาษ กิ่งไม้ภาพ ภาพพลิก หุ่นจำลอง หน้ากาก  นิ้วมือ
   "แล้ววันนี้ นิทานสำหรับเด็ก จะเป็นเรื่องเล็ก ๆ ที่ประทับใจลูกท่านตลอดไป"
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น